บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก มกราคม, 2022

ภัยซ่อนในแถลงการณ์ 5 ชาติย้ำหลีกเลี่ยงสงครามนิวเคลียร์

รูปภาพ
 แถลงการณ์ 5 ชาตินิวเคลียร์ตอกย้ำโอกาสเกิดสงครามนิวเคลียร์ระหว่างมหาอำนาจเป็นไปได้น้อยมาก แต่การเผชิญหน้าช่วงชิงยังคงอยู่ ประเทศใดจะเป็นเหยื่อรายต่อไป              3  มกราคม 2022 จีน ฝรั่งเศส รัสเซีย สหราชอาณาจักรและสหรัฐร่วมออกแถลงการณ์  The Joint Statement of the Leaders of the Five Nuclear-Weapons States on Preventing Nuclear War and Avoiding Arms Races  สาระสำคัญคือทั้ง 5 ชาติจะหลีกเลี่ยงทำสงครามนิวเคลียร์ต่อกันและหลีกเลี่ยงการแข่งขันทางอาวุธ  ถือเป็นความรับผิดชอบสำคัญสุดที่จะลดความเสี่ยงสถานการณ์เช่นนั้น โดย              1. ยอมรับว่าไม่มีใครชนะในสงครามนิวเคลียร์และต้องไม่ทำสงครามนี้ต่อกัน อาวุธนิวเคลียร์มีหน้าที่เพื่อป้องกันประเทศ ป้องปรามการรุกรานและสงคราม และจะร่วมกันไม่ให้อาวุธนิวเคลียร์กระจายออกไป              2.  จะเอ่ยถึงภัยคุกคามจากนิวเคลียร์ ย้ำความสำคัญยึดมั่นข้อตกลงทวิภาคีกับพหุภาคีเรื่องไม...

รัสเซียคิดติดตั้งอาวุธนิวเคลียร์ใกล้อเมริกา [Ep.3]

รูปภาพ

สถานการณ์ยูเครนเข้าสู่ภาวะยืดเยื้อ [Ep.2]

รูปภาพ

จีนชี้สื่อตะวันตกเสนอข่าวเท็จรายงานว่าจีนขอให้รัสเซียอย่าเพิ่งบุกยูเครน ...

รูปภาพ

เตรียมห้ามเงินคริปโทฯ ห้ามขุดเหมืองคริปโทฯ ในรัสเซีย

รูปภาพ

วิพากษ์ยุทธศาสตร์นาโตขยายตัว

รูปภาพ
ข้อวิพากษ์ทั้งหมดนำสู่คำถามว่ายุทธศาสตร์นาโตขยายตัวมีไว้เพื่อสันติภาพ เคารพอธิปไตยของกันและกันหรือเป็นเครื่องมือที่บางประเทศใช้ขยายอำนาจอิทธิพล               ยุทธศาสตร์นาโตขยายตัว ( NATO Enlargement, NATO expansion ) เกิดขึ้นหลังสิ้นสงครามเย็น ขั้วรัสเซียแตก เกิดประเทศใหม่ที่แยกตัวออกจากสหภาพโซเวียต ประกาศเป้าหมายเพื่อความมั่นคงร่วมกัน การรับสมาชิกใหม่ๆ เข้ามาจะยิ่งทำให้มั่นคงเพราะชาติสมาชิกจะทำไม่สงครามต่อกัน ปกป้องกันและกัน นักใฝ่หาสันติจึงส่งเสริมการรับสมาชิกเพิ่มด้วยเหตุผลนี้ หลายประเทศในยุโรปกลางกับยุโรปตะวันออกหวังเข้าเป็นส่วนหนึ่ง เป้าหมายของการขยายตัวก็เพื่อรับประเทศเหล่านี้นั่นเอง              เป็นยุทธศาสตร์ที่รัฐบาลสหรัฐริเริ่มและผลักดัน ต้นเดือนธันวาคม 1994 Warren Christopher รัฐมนตรีกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐ (สมัยรัฐบาลคลินตัน) แสดงสุนทรพจน์อันเป็นจุดเริ่มยุทธศาสตร์นาโตขยายตัวอย่างเป็นทางการว่า “นาโตขยายตัว” คือแก่นโครงสร้างความมั่นคงในยุโรป” ควบคู่กับการรวมตัวเป็นอียู      ...

สถานการณ์ยูเครนตึงเครียดกว่าเดิม สหรัฐคิดส่งอาวุธเข้ายูเครนป้องกันรัสเซีย

รูปภาพ

รัฐบาลเวียดนามลด VAT จาก 10 เหลือ 8% แบบอย่างที่น่าศึกษา

รูปภาพ

วัคซีนเข็ม 4 ป้องกันโอมิครอนไม่ค่อยได้ แม้ภูมิคุ้มกันสูงขึ้น

รูปภาพ

นโยบายไบเดนต่ออาเซียนและอินโด-แปซิฟิก

รูปภาพ
รัฐมนตรีบลิงเคนเยือนอาเซียนตอกย้ำส่งเสริมเสรีประชาธิปไตยต่างแดนแบบลงลึกถึงองค์กร หน่วยงาน สื่อ จนถึงระดับปัจเจก เร่งพัวพันอาเซียนทุกด้านทุกมิติ             เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม 2021 แอนโทนี บลิงเคน ( Antony Blinken) รัฐมนตรีกระทรวงการต่างประเทศเดินทางเยือนอาเซียน กล่าวสุนทรพจน์นโยบายสหรัฐต่ออาเซียนและอินโด-แปซิฟิก ย้ำว่ารัฐบาลสหรัฐให้ความสำคัญต่ออินโด-แปซิฟิกเพราะมีขนาดเศรษฐกิจถึง 60 % ของโลก เป็นภูมิภาคที่โตเร็วที่สุดในขณะนี้ 5 ปีที่ผ่านมา 2 ใน 3 ของเศรษฐกิจโลกที่โตขึ้นมาจากที่นี่ ครอบคลุมประชากรครึ่งโลก             สหรัฐมีประวัติศาสตร์ร่วมและเป็นประเทศหนึ่งในภูมิภาคนี้ คู่ค้าครึ่งหนึ่งอยู่ที่นี่ สินค้าสหรัฐเกือบ 1 ใน 3 ส่งมาขายที่นี่ หวังร่วมมือกับประเทศต่างๆ เพื่อสันติภาพ ความมั่นคง ภูมิภาคที่เปิดกว้างและเสรีกว่าเดิม กำหนดแนวทางทำงานร่วมกับภูมิภาคนี้ใน 5 ด้านประเด็นสำคัญ ได้แก่           ประการแรก อินโด-แปซิฟิกเปิดกว้างและเสรีกว่าเดิม       ...

5 เหตุผลที่ชี้ว่าดอลลาร์ปีนี้จะร่วง

รูปภาพ