บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก พฤศจิกายน, 2021

ประชาธิปไตยโลกในยุคโควิด-19

รูปภาพ
ทุกวันนี้ประชากรโลก 70% อยู่ในระบอบที่ไม่เป็นประชาธิปไตยหรือประชาธิปไตยกำลังถดถอย มีเพียง 9% เท่านั้นที่อยู่ในประเทศประชาธิปไตยเข้มแข็ง โควิด-19 เป็นอีกปัจจัยทำให้สถานการณ์ย่ำแย่ลง             ปลายเดือนพฤศจิกายน 2021 สถาบันระหว่างประเทศเพื่อความช่วยเหลือด้านประชาธิปไตยและการเลือกตั้ง (องค์กร IDEA หรือ International IDEA) ในสวีเดนเผยแพร่งานวิจัย “ The Global State of Democracy Report 2021 - Building Resilience in a Pandemic Era ” สะท้อนประชาธิปไตยโลกช่วงปี 2020-2021 ในยุคโควิด-19 มีสาระสำคัญดังนี้             องค์กร IDEA แบ่งการปกครองเป็น 3 รูปแบบใหญ่ๆ ได้แก่ ระบอบประชาธิปไตย อำนาจนิยมและแบบลูกผสม ( hybrid ) 2 แบบหลังไม่ถือว่าเป็นประชาธิปไตย             ระบอบที่นับว่าเป็นประชาธิปไตย เงื่อนไขขั้นต่ำสุดคือฝ่ายค้านต้องมีโอกาสชนะการเลือกตั้งได้จริง ลำพังมีการเลือกตั้งไม่นับว่าเป็นประชาธิปไตย          ...

พลังอาวุธนิวเคลียร์สหรัฐ 2021

รูปภาพ
ในโลกแห่งสัจนิยม ( Realism) ความเป็นอภิมหาอำนาจจะต้องเหนือกว่าประเทศอื่น พลังอำนาจทางทหารหรือกองทัพเป็นเรื่องสำคัญยิ่ง จำต้องมีอาวุธนิวเคลียร์ที่เหนือกว่า             รายงานกระทรวงการต่างประเทศเมื่อกันยายน 2021 สหรัฐมีหัวรบนิวเคลียร์ทั้งสิ้น 3,750 หัวรบ (ทั้งที่ประจำการกับในคลังเก็บ) ลดลงจาก 3 , 785 หัวรบเมื่อปี 2018 ลดลงถึง 88 % เมื่อเทียบกับปี 1967 ที่มี 31,255 หัวรบ นับจากมีระเบิดนิวเคลียร์ลูกแรกเมื่อปี 1945 สหรัฐสะสมอาวุธนิวเคลียร์มาตลอด เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในสมัยสงครามเย็น ลดลงหลังสิ้นสงครามเย็นและไม่เพิ่มขึ้นอีกเลย (ยกเว้นบางปีที่เพิ่มเล็กน้อย) จนเหลือ 3,750 หัวรบในขณะนี้ และอีกราว 2,000 หัวรบรอรื้อทำลาย (เครดิตภาพ : Transparency in the U.S. Nuclear Weapons Stockpile)              เปรียบเทียบกับข้อมูลแหล่งอื่น ๆ Center for Arms Control and Non-Proliferation ระบุเมื่อกรกฎาคม 2020 ว่าสหรัฐมีหัวรบนิวเคลียร์ 5,500 หัวรบ ในจำนวนนี้ 3,800 หัวรบใช้การได้ 1,750 หัวรบรอรื้อทำลาย       ...

ปฏิบัติการหมายสังหารนายกฯ อิรัก อัล-คาดิมี

รูปภาพ
ปฏิบัติการหมายสังหารนายกฯ อัล-คาดิมีตีความได้หลากหลาย ตั้งแต่การช่วงชิงอำนาจระหว่างฝ่ายการเมืองด้วยกัน ความปลอดภัยของ Green Zone และบทบาทต่างชาติที่เกี่ยวข้อง              เมื่อวันอาทิตย์ 7 พฤศจิกายน ผู้ก่อการร้ายใช้โดรนติดระเบิดโจมตีบ้านพักของ มุสตาฟา อัล-คาดิมี ( Mustafa al-Kadhimi) นายกรัฐมนตรีอิรัก โดรน 2 ลำถูกยิงสกัดตกเหลือเพียงลำเดียวที่พุ่งเข้าเป้าหมาย คนคุ้มกันนายกฯ บาดเจ็บหลายคนแต่ไม่ร้ายแรง กระทรวงมหาดไทยอิรักเผยว่าผู้ก่อเหตุใช้โดรนบินขึ้นจากทางตะวันออกเฉียงเหนือของกรุงแบกแดดที่ห่างออกไป 10-12 กิโลเมตร อยู่ชานกรุงแบกแดดนั่นเอง             กองทัพอิรักประกาศว่าเป็นความพยายามลอบสังหารผู้นำประเทศ              สื่อบางสำนักรายงานทันทีว่าเป็นฝีมือสายชีอะห์ที่อิหร่านสนับสนุน หลังพวกเขาแพ้เลือกตั้งรอบล่าสุด ไม่ยอมรับผลการเลือกตั้งอ้างว่าเลือกตั้งไม่บริสุทธิ์ บางคนเชื่อมโยงกับการสังหารนายพลกอซิม สุไลมานี ( Qassim Soleimani) ผู้นำกองทัพอิหร่านที่ถูกสังหารด้...

เมื่อโรฮีนจากลายเป็นเรื่องของอาเซียน

รูปภาพ
ปี 2015 เมื่อเรือผู้อพยพโรฮีนจาแล่นเข้าฝั่ง หลายประเทศใช้วิธีให้อาหารกับน้ำแล้วผลักดันกลับไป กลุ่มสิทธิมนุษยชนบางกลุ่มกล่าวหาว่าประเทศเหล่านี้ละเมิดสิทธิมนุษยชน               หลายคนกำลังสนใจจุดยืนของอาเซียนต่อเมียนมาเรื่องความขัดแย้งระหว่างกองทัพกับฝ่ายนางออง ซาน ซู จี เอ่ยเรื่องที่อาเซียนแทรกแซงกิจการภายในเมียนมา เป็นความจริงที่อาเซียนแทรกแซงกิจการภายในบางจุดบางประเด็น แต่เรื่องนี้ไม่ใช่เรื่องใหม่ทำมาหลายปีแล้วในกรณีผู้อพยพลี้ภัยโรฮีนจา การเข้าใจแนวทางอาเซียนต่อโรฮีนจาจะช่วยเข้าใจท่าทีอาเซียนต่อความขัดแย้งระหว่างฝ่ายกองทัพเมียนมากับฝ่ายนางซูจี ดังนี้             โดยพื้นฐานแล้วรัฐบาลเมียนมาไม่ยอมรับโรฮีนจาเป็นพลเมือง รัฐบาลทหารเมียนมาเห็นว่าโรฮีนจาคือคนเบงกาลี ( Bengalis ) ที่อพยพเข้ามาในช่วงที่อังกฤษปกครองพม่า เป็นเรื่องผิดกฎหมายจึงปฏิเสธความเป็นพลเมืองของโรฮีนจา             การยึดว่าโรฮีนจาเป็นคนเบงกาลีหรือคนธากา ( Dhaka) กำลังชี้ว่าพวกโรฮีนจาเป็นคนบังกลาเทศ หรื...

รัฐบาลจีนประกาศให้ทุกครัวเรือนเก็บตุนอาหารสิ่งของจำเป็น

รูปภาพ

ความก้าวหน้าและจุดยืนอาเซียน 2021

รูปภาพ
เรื่องสำคัญที่สุดคือการฟื้นฟูเศรษฐกิจหลังเผชิญโรคระบาดโควิด- 19 ประเด็นทะเลจีนใต้ที่นับวันจะทวีความตึงเครียด ขอให้เมียนมาปฏิบัติตามฉันทามติ 5 ข้อของที่ประชุมผู้นำอาเซียน              การประชุมสุดยอดอาเซียนเมื่อตุลาคม 2021 เป็นการประชุมครั้งที่ 38 กับ 39 แสดงความก้าวหน้าและจุดยืนอาเซียนสำคัญๆ หลายเรื่อง ดังนี้             อาเซียนหรือประชาคมอาเซียนยึดมั่นกฎบัตรอาเซียน ( ASEAN Charter ) พร้อมกับความสามารถในการรับมือความท้าทายใหม่ๆ ที่เข้ามา แถลงการณ์เอ่ยถึงความร่วมมือหลายอย่าง ความคืบหน้าของแต่ละงาน เช่น ข้อริเริ่มเพื่อการรวมตัวของอาเซียน ( Initiative for ASEAN Integration: IAI) การลดช่องว่างการพัฒนาระหว่างสมาชิกและเพิ่มความสามารถในการแข่งขัน ย้ำความเป็นแกนกลางของอาเซียน ( ASEAN centrality) ให้ทุกส่วนพัฒนา เดินหน้าตามแผนสร้างการเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน ( ASEAN Connectivity) ประเด็นโควิด -19 :             อาเซียนยังคงกังวลอย่างยิ่งต่อ...

มองสถานการณ์โควิด-19 ก่อนเปิดเมืองเปิดประเทศ 1 พ.ย.

รูปภาพ